ศึกษา อธิบาย วิเคราะห์ และเกี่ยวกับหน้าที่และบทบาทของผู ้ก ากับการแสดงการจัดเตรียมการแสดงละครเวที และฝึก
ปฏิบัติ การก ากับการแสดงแบบต่าง ๆ รวมถึงการสร้างภาพองค์ประกอบบนเวที การก ากับการแสดง Performance และการก ากับ
การแสดงแบบมีบทพูด เพื่อให้มีประสบการณ์ตรงในการท างานและการสื่อสารอารมณ์ของตัวละครส าหรับการเตรียมความพร้อม
ส าหรับการท างานในอุตสาหกรรมบันเทิง โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการท างานร่วมกัน และความ
เข้าใจในบทบาทของผู ้ก ากับการแสดงที่มีคุณค่าในวงการบันเทิง
- อาจารย์: ธีระพงศ์ ปานเด
ทดสอบ
- อาจารย์: จักรพงศ์ เกตุวัตถา
ทัศนศิลป์
อภิปราย บอก
รูปร่าง ลักษณะ ขนาดของสิ่งต่างๆรอบตัว
ในธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น ความรู้สึกที่มีต่อธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมรอบตัว ฝึกทักษะพื้นฐานการวาดภาพระบายสี การทดลองสี การปั้นจากการใช้วัสดุอุปกรณ์
สร้างงานทัศนศิลป์ ทดลองการใช้สีน้ำและสีโปสเตอร์ ระบุงานทัศนศิลป์ในชีวิตประจำวัน
ดนตรี
บอก
ท่อง เข้าร่วมในกิจกรรมดนตรี รู้สิ่งต่าง ๆ
สามารถกำเนิดเสียงที่แตกต่างกัน บอกลักษณะของเสียงดัง-เบา
และความช้า-เร็วของจังหวะ ท่องบทกลอน ร้องเพลงง่ายๆ มีส่วนร่วมในกิจกรรมดนตรี
อย่างสนุกสนาน
บอกความเกี่ยวข้องของเพลงที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
เล่า ระบุสิ่งที่ชื่นชอบ ถึงเพลงในท้องถิ่น
นาฎศิลป์
เลียนแบบการเคลื่อนไหว
แสดงท่าทางง่ายๆเพื่อสื่อความหมายแทนคำพูด แสดงสิ่งที่ตนเองชอบ
จากการดูหรือร่วมการแสดงระบุ บอกการละเล่นของเด็กไทยและการแสดงนาฏศิลป์
โดยใช้กระบวนการสาธิต ฝึกปฏิบัติ
กระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการกลุ่ม วิเคราะห์ สังเคราะห์ เชื่อมโยงความรู้ สืบเสาะหาความรู้
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในด้านความมุ่งมั่นในการทำงาน ความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และรักความเป็นไทย
- อาจารย์: สุภาพรรณ พลอยบุษย์
- อาจารย์: ศุภโชติ ศิระพุฒิภัทร
ทัศนศิลป์
ระบุ บรรยาย สร้างงาน มีทักษะพื้นฐานรูปร่าง รูปทรงที่พบในธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทัศนธาตุและงานทัศนศิลป์ เรื่องเส้น สี รูปร่าง และรูปทรง เรื่องราว เลือก สร้างงานทัศนศิลป์ต่างๆ โดยใช้เส้น เช่น งานวาด งานปั้นและงานพิมพ์ภาพ รูปแบบงานโครงสร้างเคลื่อนไหว ฝึกทักษะการใช้วัสดุ อุปกรณ์ สร้างงานทัศนศิลป์ 3 มิติ สร้างงานภาพปะติดโดยการตัดหรือฉีกกระดาษ วาดภาพเพื่อถ่ายทอดเรื่องราว บอกความสำคัญของงานทัศนศิลป์ที่พบเห็นในชีวิตประจำวัน อภิปรายเกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ประเภทต่างๆ ในท้องถิ่นโดยเน้นถึงวิธีการสร้างงานและวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้
ดนตรี
จำแนกแหล่งกำเนิดของเสียงที่ได้ยิน คุณสมบัติของเสียงสูง-ต่ำ , ดัง-เบา , ยาว-สั้นของดนตรี สิ่งต่างๆที่ก่อกำเนิดเสียงที่แตกต่างกัน ลักษณะของเสียงดัง-เบา และความช้า-เร็วของจังหวะ ความเกี่ยวข้องของเพลงที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เคาะจังหวะหรือเคลื่อนไหวร่างกายให้สอดคล้องกับเนื้อหาของเพลงร้องเพลงง่ายๆที่เหมาะสมกับวัยบอกความหมายและความสำคัญของเพลงที่ได้ยิน ความสัมพันธ์ของเสียงร้อง เสียงดนตรีในเพลงท้องถิ่นโดยใช้คำง่ายๆ แสดงและเข้าร่วมกิจกรรมทางดนตรีในท้องถิ่น
นาฎศิลป์
แสดงการเคลื่อนไหวขณะอยู่กับที่และเคลื่อนที่ สะท้อนอารมณ์ของตนเองอย่างอิสระ ท่าทาง เพื่อสื่อความหมายแทนคำพูด ท่าทางประกอบจังหวะอย่างสร้างสรรค์ ใช้ภาษาท่าและนาฏยศัพท์ประกอบจังหวะ ระบุมารยาทในการชมการแสดง แสดงการละเล่นพื้นบ้าน เชื่อมโยงการละเล่นพื้นบ้านกับการดำรงชีวิตของคนไทย รวมทั้งระบุสิ่งที่ชื่นชอบและภาคภูมิใจในการละเล่นพื้นบ้าน
โดยใช้กระบวนการสาธิต ฝึกปฏิบัติ กระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการกลุ่ม วิเคราะห์ สังเคราะห์ เชื่อมโยงความรู้ สืบเสาะหาความรู้
เพื่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในด้านความมุ่งมั่นในการทำงาน ความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และรักความเป็นไทย
- อาจารย์: สุภาพรรณ พลอยบุษย์
- อาจารย์: ศุภโชติ ศิระพุฒิภัทร
ทัศนศิลป์
บรรยาย รูปร่าง รูปทรงในธรรมชาติสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ ระบุวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้สร้างผลงานเมื่อชมงานทัศนศิลป์ บรรยายเหตุผลและวิธีการในการสร้างงานทัศนศิลป์โดยเน้นเทคนิคและวัสดุ อุปกรณ์ จำแนกทัศนธาตุของสิ่งต่างๆในธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ โดยเน้นเรื่อง เส้น สี รูปร่าง รูปทรงและพื้นผิว มีทักษะพื้นฐาน ในการใช้วัสดุอุปกรณ์สร้างสรรค์งานปั้น วาดภาพ ระบายสีสิ่งของรอบตัว ถ่ายทอดความคิดความรู้สึกจากเหตุการณ์ชีวิตจริง โดยใช้เส้น รูปร่าง รูปทรง สีและพื้นผิว ระบุสิ่งที่ชื่นชมและสิ่งที่ควรปรับปรุงในงานทัศนศิลป์ของตนเอง ระบุและจัดกลุ่มของภาพตามทัศน์ธาตุที่เน้นในงานทัศนศิลป์นั้นๆ บรรยายลักษณะรูปร่าง รูปทรงในงานการออกแบบสิ่งต่างๆที่มีในบ้านและโรงเรียน เล่าถึงที่มาของงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น อธิบายเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์และวิธีการสร้างงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น
ดนตรี
ระบุรูปร่างลักษณะของเครื่องดนตรีที่เห็นและได้ยินในชีวิตประจำวัน ใช้สัญลักษณ์แทนเสียงและจังหวะเคาะ บอกบทบาทและหน้าที่ของเพลงที่ได้ยิน บรรเลงเครื่องดนตรีคีย์บอร์ดเบื้องต้น เคลื่อนไหวท่าทางสอดคล้องกับอารมณ์ของเพลงที่ฟัง แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี เสียงขับร้องของตนเองและผู้อื่น นำดนตรีไปใช้ในชีวิตประจำวันหรือโอกาสต่างๆได้อย่างเหมาะสม
นาฎศิลป์
สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่างๆ รำวงมาตรฐาน แสดงท่าทางประกอบเพลงตามรูปแบบนาฏศิลป์ บอกบทบาทหน้าที่ของผู้แสดงและผู้ชม มีส่วนร่วมในกิจกรรมการแสดงที่เหมาะสมกับวัย
บอกประโยชน์ของการแสดงนาฏศิลป์ในชีวิตประจำวัน เล่าการแสดงนาฏศิลป์พื้นบ้าน ระบุสิ่งที่เป็นลักษณะเด่นและเอกลักษณ์ของการแสดงนาฏศิลป์ อธิบายความสำคัญของการแสดงนาฏศิลป์
- อาจารย์: ไพบูลย์ เสริมชานุ
- อาจารย์: ปราการ แก้วเขียว
ทัศนศิลป์
เปรียบเทียบรูปลักษณะของรูปร่าง รูปทรงในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ ความคิด ความรู้สึกที่ถ่ายทอดผ่านงานทัศนศิลป์ของตนเองและบุคคลอื่น อภิปรายเกี่ยวกับอิทธิพลของสีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเย็นที่มีต่ออารมณ์ของมนุษย์ จำแนกทัศน์ธาตุของสิ่งต่างๆในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ โดยเน้นเรื่องเส้น สี รูปร่าง รูปทรง พื้นผิวและพื้นที่ว่าง ฝึกทักษะในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในการสร้างงานสื่อสร้างสรรค์ การปั้นเซรามิค งานวาดภาพระบายสี โดยใช้สีวรรณะอุ่นและสีวรรณะเย็น บรรยายลักษณะของภาพโดยเน้น เรื่องการจัดระยะ ความลึก น้ำหนักแสงเงาในภาพและงานทัศนศิลป์ที่มาจากวัฒนธรรมต่างๆ ถ่ายทอดความรู้สึกและจินตนาการเลือกใช้วรรณะสีเพื่อถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกในการสร้างงานทัศนศิลป์
ดนตรี
บอกประโยคเพลงอย่างง่าย จำแนกประเภทของเครื่องดนตรีที่ใช้ในเพลงที่ฟัง ระบุทิศทางการเคลื่อนที่ขึ้น – ลงง่ายๆของทำนอง รูปแบบจังหวะและความเร็วของจังหวะในเพลงที่ฟัง อ่าน เขียนโน้ตดนตรีไทยและสากล บรรเลงเครื่องดนตรีคีย์บอร์ด ใช้และเก็บเครื่องดนตรีอย่างถูกต้องและปลอดภัยร้องเพลงโดยใช้ช่วงเสียงที่เหมาะสมกับตนเอง บอกแหล่งที่มาและความสัมพันธ์ของวิถีชีวิตไทยที่สะท้อนในดนตรี เพลงท้องถิ่นและโอกาสในการบรรเลงดนตรี ระบุความสำคัญในการอนุรักษ์ส่งเสริมวัฒนธรรมทางดนตรี
นาฎศิลป์
ระบุทักษะพื้นฐานทางนาฏศิลป์และการละครที่ใช้สื่อความหมายและอารมณ์ ใช้ภาษาท่าและนาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครง่ายๆ ในการถ่ายทอดเรื่องราว แสดงการเคลื่อนไหวในจังหวะต่างๆตามความคิดของตน การประดิษฐ์ท่าทางหรือท่ารำประกอบจังหวะพื้นเมือง แสดงนาฏศิลป์เป็นคู่และหมู่ รำวงมาตรฐาน ระบำ เล่าสิ่งที่ชื่นชอบในการแสดงโดยเน้นจุดสำคัญของเรื่องและลักษณะเด่นของตัวละคร อธิบายประวัติความเป็นมาของนาฏศิลป์ และความสำคัญของการแสดงความเคารพในการเรียนและการแสดงนาฏศิลป์ ระบุเหตุผลที่ควรรักษา และสืบทอดการแสดงนาฏศิลป์
- อาจารย์: ไพบูลย์ เสริมชานุ
- อาจารย์: ปราการ แก้วเขียว
ศึกษาและฝึกปฏิบัติ อธิบาย อภิปราย บอก ระบุและจำแนก ความรู้และทักษะทางศิลปะ ทัศนศิลป์ เรื่องวงสีธรรมชาติ และสีคู่ตรงข้าม หลักการจัดขนาด สัดส่วนความสมดุล ในงานทัศนศิลป์ งานทัศนศิลป์รูปแบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ การใช้หลักการเพิ่มและลดในการสร้างสรรค์งานปั้น รูปและพื้นที่ว่างในงานทัศนศิลป์ การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์โดยใช้ สีคู่ตรงข้าม การสร้างงานแผนภาพ แผนผังและภาพประกอบ อิทธิพลของวัฒนธรรมต่องานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น
ดนตรี เรื่ององค์ประกอบดนตรีและศัพท์สังคีต เครื่องดนตรีไทยแต่ละภาคบทบาทและหน้าที่ของเครื่องดนตรี ประเภทของเครื่องดนตรี เครื่องหมายและสัญลักษณ์ทางดนตรี โน้ตบทเพลงไทยอัตราจังหวะสองชั้นโน้ตบทเพลงสากลในบันเสียง C Major การร้องเพลงประกอบดนตรีการสร้างสรรค์รูปแบบจังหวะและทำนองด้วยเครื่องดนตรี การบรรยายความรู้สึกและแสดงความคิดเห็นเนื้อหาในบทเพลง องค์ประกอบบทเพลงคุณภาพเสียงในบทเพลงดนตรีไทยในประวัติศาสตร์ ดนตรีในเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ ดนตรีในยุคสมัยต่างๆ และอิทธิพลของวัฒนธรรมที่มีต่อดนตรี
นาฎศิลป์ การประดิษฐ์ท่าทางประกอบเพลงโรงเรียนเครื่องแต่งกายและอุปกรณ์ประกอบการแสดงอย่างง่ายการสร้างสรรค์ละคร บทบาทหน้าที่ในงานนาฏศิลป์และการละคร องค์ประกอบทางนาฏศิลป์และการละคร ความหมาย ความเป็นมา ความสำคัญ ของนาฏศิลป์และละคร การแสดงละครคริสต์สมภพ
โดยใช้กระบวนการสาธิต ฝึกปฏิบัติ กระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการวิเคราะห์ กระบวนการสังเคราะห์ เชื่อมโยงความรู้ สืบเสาะหาความรู้
เพื่อให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในด้านความมุ่งมั่นในการทำงาน มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และรักความเป็นไทย
- อาจารย์: ณิพัฒน์ เลิศมงคล
- อาจารย์: กิตติคุณ แลกระสินธุ์
ศึกษาและฝึกปฏิบัติ อธิบาย อภิปราย บอก ระบุและจำแนก ความรู้และทักษะทางศิลปะทัศนศิลป์ เรื่องแสงเงา น้ำหนัก และวรรณะสี การวาดภาพระบายสี การปั้น การพิมพ์ภาพ ความแตกต่างระหว่าง งานทัศนศิลป์ การจัดองค์ประกอบศิลป์ การสื่อความหมาย ในงานทัศนศิลป์ ประโยชน์และคุณค่าของงานทัศนศิลป์ งานทัศนศิลป์รูปแบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ ลักษณะรูปแบบของงานทัศนศิลป์ งานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น
ดนตรีเรื่ององค์ประกอบของบทเพลง กลุ่มเสียงร้องและเครื่องดนตรีในวงดนตรี การบรรเลงเครื่องดนตรี ขลุ่ยรีคอร์เดอร์ การร้องเพลงไทยหรือสากล การสร้างสรรค์ทำนองอย่างง่าย การแสดงดนตรีประกอบกิจกรรม คุณค่าของดนตรีในท้องถิ่น
นาฎศิลป์ เรื่ององค์ประกอบของนาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่าทาง การฟ้อน องค์ประกอบของละคร ที่มาของ การแสดงนาฏศิลป์ชุดต่าง ๆ หลักการชมการแสดง การแสดงพื้นบ้าน
โดยใช้กระบวนการสาธิต ฝึกปฏิบัติ กระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการวิเคราะห์ กระบวนการสังเคราะห์ เชื่อมโยงความรู้ สืบเสาะหาความรู้
เพื่อให้ผู้เรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในด้านความมุ่งมั่นในการทำงาน มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และรักความเป็นไทย
- อาจารย์: ณิพัฒน์ เลิศมงคล
- อาจารย์: กิตติคุณ แลกระสินธุ์
ศึกษาและฝึกปฏิบัติ อธิบาย
อภิปราย บอก ระบุและจำแนก เปรียบเทียบ ความรู้และทักษะทางศิลปะดังนี้ ทัศนศิลป์
ในเรื่องความหมายการถ่ายทอดงานศิลปะ ลักษณะการถ่ายทอดงานศิลปะ วิธีการถ่ายทอดงานศิลปะ ความงามของศิลปะและการประยุกต์ใช้ หลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ เทคนิคการสร้างงานจิตรกรรม ประติมากรรม
และภาพพิมพ์ ศิลปะกับเทคโนโลยี ศิลปะในชีวิตประจำวันกับการประยุกต์
ใช้ ศิลปะไทย การสร้างงานศิลปะไทย จิตรกรรมไทย ประติมากรรมไทย สถาปัตยกรรมไทย ศิลปะสากล ศิลปะสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ศิลปะสมัยกลาง ศิลปะสมัยฟื้นฟู ศิลปะสมัยใหม่ดนตรี
ในเรื่องการเปรียบเทียบองค์ประกอบในงานดนตรีกับศิลปะต่าง ๆ
เปรียบเทียบองค์ปะกอบ ที่ใช้ในงานดนตรีและงานศิลปะอื่น อธิบายเหตุผลในการเลือกใช้องค์ประกอบดนตรีในการสร้างสรรค์งานดนตรีของตนเอง ร้องเพลง
เล่นดนตรีเดี่ยว และรวมวง โดยเน้นเทคนิคการร้อง การเล่น การแสดงออก
และคุณภาพเสียง
แต่งเพลงสั้น
ๆ จังหวะง่าย ๆ นำเสนอหรือจัดการแสดงดนตรี
ที่เหมาะสมโดยการบูรณาการกับสาระ การเรียนรู้อื่นในกลุ่มศิลปะ ระบุโครงสร้างของบทละครโดยใช้ศัพท์ทางการละคร วิจารณ์เปรียบเทียบงานนาฏศิลป์ที่มีความแตกต่างกันโดยใช้ความรู้เรื่อง
องค์ประกอบนาฏศิลป์ อธิบายความสำคัญและบทบาทของนาฏศิลป์และการละครในชีวิตประจำวัน
โดยใช้กระบวนการสาธิต ฝึกปฏิบัติ กระบวนการคิดสร้างสรรค์
กระบวนการกลุ่ม วิเคราะห์ สังเคราะห์ เชื่อมโยงความรู้
สืบเสาะหาความรู้ เพื่อให้นักเรียนเกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ในด้านความมุ่งมั่นในการทำงาน ความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้ และรักความเป็นไทย
ศึกษาและอ่านเขียน จำแนก นำเสนอ
เปรียบเทียบ อธิบาย สร้างสรรค์
คิดวิเคราะห์ สร้างเกณฑ์สื่อความหมายทางดนตรี
อธิบายเหตุผลที่คนต่างวัฒนธรรมสร้างสรรค์เปรียบเทียบบทเพลงและวงดนตรีแต่ละประเภทลักษณะเด่นของดนตรีในวัฒนธรรมบทบาทของดนตรีในการสะท้อนแนวความคิดและค่านิยมร้องเพลง
หรือเล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวง โดยเน้นเทคนิคการแสดงออกและคุณภาพของการแสดง
ของคนในสังคมต่างๆ
โดยใช้กระบวนการสาธิต ฝึกปฏิบัติ กระบวนการคิดสร้างสรรค์ กระบวนการกลุ่ม
วิเคราะห์เชื่อมโยงความรู้สืบเสาะหาความรู้และการนำเสนอผลงาน
เพื่อก่อให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านมุ่งมั่นในการทำงาน
ความมีวินัย ใฝ่เรียนรู้รักความเป็นไทย
- อาจารย์: นิภาพรรณ ระดมกิจ